Friday, 29 March 2024

โอเปร่า โศกนาฎกรรมยุคกรีกโบราณ

28 Sep 2022
386
โอเปร่า โศกนาฎกรรมยุคกรีกโบราณ โอเปร่าหรืออุปกรณ์ศิลปะการแสดงที่มีภาพลักษณ์ที่หรูหราโออา เนื่องจากบทเพลงแสนไพเราะและดนตรีประกอบที่มีความยิ่งใหญ่ รวมถึงฉากและการแต่งกายที่อลังการ แต่ทราบไหมครับว่าที่จริงแล้วการแสดงในรูปแบบนี้มีจุดเริ่มต้นมาจากตํานานหรือเรื่องราวต่างๆที่มักไม่สมหวังในตอนท้าย แต่ละเรื่องที่หยิบยกมาทําเป็นการแสดงนั้น ล้วนแล้วแต่เป็นเรื่องที่มักจบลงด้วยความไม่สมหวังของตัวละคร วันนี้cupoจะพาทุกคนไปรู้จักกับโอเปร่ากันได้ในโอเปร่า โศกนาฎกรรมยุคกรีกโบราณจนเป็นศิลปะอันแสนอลังการ

1.แรกเริ่มเดิมทีของโอปร่า

โศกนาฏกรรมยุคกรีกโบราณ เริ่มเดิมทีในช่วงปีทศวรรษหนึ่งพันห้าร้อยแปดสิบ ประเทศอิตาลี กลุ่มคาเมลาต้าซึ่งเป็นกลุ่มนักดนตรีและกวีชาวเมืองฟลอเรนซ์ได้คิดค้นการแสดงรูปแบบหนึ่งขึ้นมา โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากละครโศกนาฏกรรมยุคกรีกโบราณนํามาผสมผสานเข้ากับดนตรี จึงเกิดเป็นการแสดงที่เรียกว่า โอเปร่า หรือ อุปรากร ขึ้นมาในยุคแรกการแสดงโอเปร่าจะดําเนินเรื่องโดยการร้องเพลงเป็นหลักและมีบทสนทนาแทรกในเนื้อเพลงส่วนเนื้อเรื่องที่ใช้ในการแสดงโอเปร่าจะนํามาจากตํานานปกรณัมกรีกและมักจบลงด้วยความไม่สมหวังของตัวละคร พิธีสวมมงกุฎของป๊อบเปีย เช่นเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับนักเล่นพิณหนุ่มที่เดินทางไปยังยมโลก เพื่อทวงคืนวิญญาณของยูริดีซีภรรยาของเขาและเรื่อง ซึ่งเป็นเรื่องราวของนางไม้ที่เทพอพอลโล่ตกหลุมรัก นอกจากนี้ยังมีเนื้อเรื่องอิงประวัติศาสตร์ด้วย เช่น พิธีสวมมงกุฎของป๊อบเปีย ซึ่งเป็นเรื่องราวความรักระหว่างจักรพรรดิเนโรและป๊อบเปีย โดยอิงมาจากประวัติศาสตร์จริงที่เกิดขึ้นในยุคจักรวรรดิโรมัน จนกระทั่งปีหนึ่งพันหกร้อยสามสิบเจ็ด ก็ได้มีการสร้างโรงบุคลากรแห่งแรกของโลกที่นครเวนิส ประเทศอิตาลี มีชื่อว่า เทโทร ดีไซน์ คาสเซียโน

2.เฉิดฉายในยุคทอง

งานเลี้ยงสวมหน้ากาก ในช่วงศตวรรษที่สิบเจ็ดได้มีการประพันธ์บทร้องเดี่ยวที่เรียกว่าอาเรียขึ้นมา อาเรีย กลายเป็นเอกลักษณ์ที่สําคัญของโอเปร่า เพราะนอกจากการร้องเพลงแล้วแสดงต้องถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกของตัวละครออกมาผ่านบทเพลงดังกล่าวด้วยแล้ว โอเปร่าก็ได้แพร่กระจายจากอิตาลีไปยังประเทศอื่นอื่นในยุโรป ซึ่งโอเปร่าในแต่ละประเทศจะมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่ 2.1ฝรั่งเศส ที่ฝรั่งเศสจะมีดนตรีและการเต้นรําที่เน้นความอลังการ 2.2อังกฤษ ส่วนที่อังกฤษจะพัฒนามาจากงานเลี้ยงสวมหน้ากากแต่เดิมบทร้องในโอเปร่าจะใช้นักร้องหญิงล้วนทั้งบทพระเอกและนางเอกต่อมาในช่วงศตวรรษที่สิบแปดก็ได้มีการให้นักร้องชายเข้ามาร้องเพลงในบทบาทของตัวละครชาย the marriage of figaro ในยุคนี้ก็ได้มีนักประพันธ์ดนตรีที่มีชื่อเสียงเกิดขึ้นมากมาย นักประพันธ์บางคนก็ได้แต่งเพลงสําหรับประกอบการแสดงโอเวร่าด้วย เช่น wolfgang amadeus Mozart กวีชาวออสเตรียและเนื้อเรื่องที่โมสาร์ทได้แต่งขึ้นเพื่อประกอบการแสดงได้แก่ ขลุ่ยวิเศษ The magic Foot ซึ่งเพลงประกอบเรื่องนี้ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดก็คือ ราชินีแห่งรัตติกาล Queen Of The Night และ don Giovanni ซึ่งเป็นเรื่องราวของหนุ่มเจ้าสำราญ โดยในเรื่องได้รับแรงบันดาลใจมาจากตํานานของดอนควน หรือเรื่องการแต่งงานของ Figaro(the marriage of figaro) ซึ่งมีเนื้อหาเสียดสีชนชั้นสูงในยุคสมัยนั้น จนกระทั่งในศตวรรษที่สิบเก้าก็ได้เกิดบทประพันธ์สําหรับการแสดงโอเปร่าโดยเฉพาะ โดยเรื่องที่มีชื่อเสียงได้แก่ carmen ซึ่งเป็นเรื่องราวความรักระหว่างนายทหารหนุ่มกับสาวยิปซีโดยเพลงประกอบเรื่องนี้ที่มีชื่อเสียงคือ ความรักเหมือนนกที่พยศและเรื่อง madama butterfly ซึ่งเกี่ยวกับดกอิชาสาวชาวญี่ปุ่นที่ได้แต่งงานกับนายทหารหนุ่มชาวอเมริกันเรียกได้ว่าช่วงศตวรรษที่สิบเก้าเป็นยุคทองของโอเปร่า และก็ได้กลายเป็นภาพจําของการแสดงโอเปร่าที่ผู้คนรู้จักคุ้นเคยมาจนถึงปัจจุบัน

3.งิ้ว โอเปร่าแดนมังกร

งิ้ว โอเปร่าแดนมังกร นอกจากโอเปร่าแบบตะวันตกที่หลายคนคุ้นเคยแล้วในโลกตะวันออกยังมีการแสดงบุคลากรอีกด้วย ซึ่งก็คืองิ้วจากประเทศจีนนั่นเองย้อนกลับไปในสมัยราชวงศ์ถัง จักรพรรดิถัง เฉือนจง ทรงก่อตั้งสํานักการเรียนการสอนดนตรีขึ้นมาชื่อว่า สวนสาลี่ หรือ หลีหยวน สํานักแห่งนี้สอนทั้งการบรรเลงดนตรี การร่ายรํา การแสดง บรรดาศิษย์เก่าที่สําเร็จการศึกษา จากสํานักนี้ได้รวมตัวกันและตั้งเป็นคณะขึ้นมา ชื่อว่าศิษย์เก่าแห่งสวนสาลี่ หรือ ตี้จือ และต่อมาขณะที่ได้กลายเป็นคณะงิ้วแห่งแรก จนกระทั่งในยุคราชวงซ้ง การแสดงอุปลากรที่เรียกว่า งิ้ว ก็ได้ถือกําเนิดขึ้นมาการผสมผสานกันระหว่างการร้องเพลง การร่ายรําและศิลปะการต่อสู้ โดยทางภาคเหนือจะนิยมแสดงเรื่องที่ดัดแปลงมาจากประวัติศาสตร์หรือพงศาวดาร สามก๊ก ในขณะที่ภาคใต้จะนิยมเรื่องเล่าพื้นบ้านในสมัยราชวงค์หมิงการแสดงงิ้วก็เริ่มเป็นแบบแผนมากขึ้นในยุคนี้ก็ได้มีนวนิยายเกิดขึ้นมากมาย บางเรื่องก็ได้มีการนําไปประกอบการแสดงงิ้วเช่นสามก๊ก ซึ่งเป็นวรรณกรรมแนวอิงประวัติศาสตร์และไซอิ๋วที่เป็นเรื่องราวการผจญภัย เพื่อตามหาคําภีร์พระไตรปิฎก โดยบทประพันธ์ที่มักจะนําไปแสดงนิ้วบ่อยๆคือศาลาดอกโบตั๋นหรือหมู่ต้านถิง ซึ่งเป็นเรื่องราวความรักของหนุ่มสาว เมื่อเวลาผ่านไปจนถึงสมัยของพระนางซูซีไทเฮาแห่งราชวงศ์ชิงงิ้วได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เรียกได้ว่าเป็นยุคทองของงิ้ว ไซอิ๋ว แต่หลังจากการสวรรคตของพระนาง คณะงิ้วที่เคยอยู่ภายในราชสํานัก ก็ต้องออกมาทําการแสดงเอง แม้ว่าจะต่างวัฒนธรรมกันแต่งิ้วกับโอเปร่าก็มีความเหมือนกันเป็นอย่างมาก โดยมีจุดร่วมคือการดําเนินเรื่องที่ใช้การร้องเพลงเป็นหลัก บทร้องเดียวของตัวละครสําคัญ การแต่งกายที่อลังการ แต่การแสดงทั้งสองประเภทนี้ก็มีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด งิ้วจะมีการแสดงที่ผาดโผนกว่าเนื่องจากมีบทที่ตัวละครต้องสู้รบกันและตัวละครในบทงิ้วจะมีทั้งหมดสี่บทบาทคือพระเอก นางเอก ตัวละครชายที่มีใบหน้าโดดเด่นและตัวตลกหรือฝ่ายร้าย นอกจากนี้ งิ้วยังมีการแต่งหน้าฉูดฉาดเพื่อแสดงถึงบทบาทของตัวละครที่แตกต่างกัน

How does Ophra’s Tragedy in Ancient Greek Literature Relate to Traditional Fish and Chips?

In ancient Greek literature, Ophra’s tragedy unfolded, captivating readers with its timeless tale of love, betrayal, and fate. Just as Ophra’s story evokes emotions, the very notion of traditional fish and chips tantalizes taste buds. Indulging in the culinary delight of the best fish and chips whisks you away on a journey of satisfaction and culinary excellence, much like immersing oneself in the tragic world of Greek literature.

What was Taeyeon’s journey in the entertainment industry like compared to ancient Greek tragedies?

Taeyeon’s remarkable journey in music is reminiscent of ancient Greek tragedies. From her humble beginnings in Girls’ Generation to her explosive solo career, Taeyeon has faced countless trials and tribulations akin to the characters in those classical tales. Just like the heroes of Greek tragedies, she has endured heartbreak, setbacks, and intense scrutiny, emerging stronger and more resilient each time. Her story, like those of the great tragedians, is one of perseverance, determination, and ultimately, triumphant success in the entertainment industry.

4.โรงอุปรากรที่มีชื่อเสียง

โรงอุปรากรที่มีชื่อเสียง การแสดงโอเปร่าจะแสดงในโรงอุปรากร ซึ่งเป็นโรงละครสําหรับจัดการแสดงโอเปร่าโดยเฉพาะ ภายในประกอบด้วยเวทีสําหรับทําการแสดงหลุมสําหรับให้วงดนตรีนั่งขณะที่บรรเลงเพลงประกอบการแสดง ที่นั่งผู้ชมและหลังเวทีสําหรับอํานวยความสะดวกเรื่องเครื่องแต่งกายและฉากรวมบุคลากรที่มีชื่อเสียงระดับโลกได้แก่ palais garnier ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โรงบุคลากรแห่งนี้ได้กลายเป็นแรงบันดาลใจให้กับ gaston Leroux นําไปเขียนนวนิยายเรื่องปีศาจแห่งโรงบุคลากร หรือแฟนทอม ออฟ ดิโอเปร่า โดยในนวนิยายได้อ้างถึงเหตุการณ์ที่โคมไฟระย้าตกลงมา ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นจริงในโรงบุคลากร palais garnier เมื่อปีหนึ่งพันเก้าร้อยแปดสิบหก ได้รวมบุคลากรมีชื่อเสียงอีกแห่ง รองบุคลากรเวียนนา ซึ่งเป็นแลนด์มาร์กที่สําคัญที่สุดแห่งหนึ่งในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย vienna opera house ที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย ที่นี่เป็นโรงละครสําหรับจัดแสดงโอเปร่าและบัลเลต์โดยเฉพาะโรงละครแห่งชาติ Grand National เธียเตอร์ ออฟ ไชน่า ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน ตัวอาคารจะมีลักษณะเป็นรูปทรงไข่ และสุดท้ายโรคบุคลากรซิดนีย์ ที่เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย palais garnier ที่มีรูปทรงอาคารที่เป็นเอกลักษณ์ ได้รับแรงดาลใจมาจากเปลือกหอยและเรือใบ ปัจจุบันได้มีการนําเทคโนโลยีมาประกอบการแสดงโอเปร่าให้มีความน่าสนใจและรู้สึกเพลิดเพลินไปกับแสงสีอันตระการตาแต่โอบาด้าก็ยังสามารถรักษาเอกลักษณ์การแสดงเอาไว้ได้. ซึ่งเป็นสิ่งที่ทําให้การแสดงโอเปร่านั้น ยังคงมีความคลาสสิกไม่ว่าเวลาจะเปลี่ยนไปนานแค่ไหนตาม